top of page

ลูกจ้างเตรียมเฮ❗ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่


ลูกจ้างเตรียมเฮ❗ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่  หลังจากที่ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) กับตัวแทนสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ออกมาเรียกร้องให้มีการปรับค่าจ้างขั้นต่ำปี 2561 ขึ้นจาก 300 บาทไปเป็น 600-700 บาทต่อวันนั้นก็ได้เกิดกระแสตอบโต้มากมายทั้งจากรัฐบาลและจากฝั่งเอกชน  ในวงการเศรษฐศาสตร์เองการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำก็เป็นประเด็นที่ถูกถกเถียงกันอย่างเผ็ดมันมาเป็นเวลานานหลายสิบปีไม่แพ้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่อัตราว่างงานต่ำ ช่วงหาเสียง และช่วงที่สังคมเริ่มไม่ทนกับระดับความเหลื่อมล้ำทางรายได้  บทความนี้จะสรุปประเด็นสำคัญเกี่ยวกับ ผลกระทบที่ “สามารถเกิดขึ้นได้” ผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับผลกระทบมากกว่ากิจการขนาดใหญ่จากค่าใช้จ่ายของธุรกิจที่เพิ่มสูงขึ้น  🔸ค่าจ้างขั้นต่ำคืออะไร? เป็นค่าตอบแทนต่ำสุดซึ่งนายจ้างจะต้องจ่ายแก่ลูกจ้างเป็นรายชั่วโมง รายวันหรือรายเดือนตามที่กฎหมายกำหนด หรือมีความหมายเหมือนกับค่าแรงต่ำสุดซึ่งลูกจ้างจะขายแรงงานของตน แม้ว่ากฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำจะมีผลใช้บังคับในหลายรัฐ ก็ยังมีความเห็นต่างในผลดีและผลเสียของค่าจ้างขั้นต่ำ ผู้สนับสนุนค่าจ้างขั้นต่ำบอกว่า จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานชีวิตของลูกจ้างและลดความยากจน ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยว่า ถ้าค่าจ้างขั้นต่ำสูงพอจะเห็นผลได้ดังนั้น ก็จะเป็นการเพิ่มอัตราว่างงาน   โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในหมู่ลูกจ้างที่มีผลิตภาพต่ำเพราะขาดประสบการณ์หรือพิการ ดังนั้นจึงเป็นการทำร้ายแรงงานที่มีฝีมือน้อยกว่าและเป็นประโยชน์แก่แรงงานที่มีฝีมือสูงกว่า  🔸วิธีคุมค่าใช้จ่าย ค่าจ้าง และเงินเดือน  เจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก โดยเฉพาะธุรกิจซื้อมาขายไปที่ได้รับผลกระทบจากการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ อย่าเพิ่งรีบแก้ปัญหาด้วยการไปเพิ่มราคาขายสินค้าแต่เพียงอย่างเดียว เพราะหากสินค้าของเรามีราคาสูงกว่าคู่แข่ง ก็ยิ่งทำให้คาดเดายอดขายได้ยากในสภาพเศรษฐกิจชะลอตัว แต่เจ้าของธุรกิจสามารถปรับวิธีการบริหารค่าใช้จ่ายของธุรกิจได้ในเบื้องต้น เพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายไม่ให้สูงเกินจนรับมือไม่อยู่ เช่น   1. ตรวจสอบดูว่ามีพนักงานจำนวนเท่าไรที่ได้รับค่าจ้างต่ำเพราะต้องคำนึงถึงเงินส่วนอื่นๆ นอกจากค่าจ้างด้วยคือ เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่าล่วงเวลาและค่าคอมมิชชั่นอื่นๆ    ดังนั้นหากธุรกิจมีสวัสดิการ หรือค่าคอมมิชชั่นที่ไม่ถือว่าเป็นค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างบางรายอาจยกเลิกสวัสดิการส่วนนี้ แล้วนำไปปรับเป็นฐานเงินเดือนให้ลูกจ้างแทนแล้วปรับเงินเดือนขึ้นตามโครงสร้างเหมือนเดิมก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถทำได้   2. ประเมินค่าใช้จ่ายต่างๆ ของธุรกิจที่สามารถลดได้ อะไรที่ไม่จำเป็นหรือเป็นการจ่ายที่ไม่คุ้มค่าก็ควรจะลดลงก่อน ซึ่งการจะบริหารค่าใช้จ่ายของธุรกิจในส่วนนี้ได้ เจ้าของธุรกิจก็จำเป็นที่ต้องมีข้อมูลธุรกิจเพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและประเมินค่าใช้จ่ายได้ตามจริง   3. สื่อสารกับพนักงานสม่ำเสมอเพื่อทำความเข้าใจให้ตรงกัน ไม่ว่าจะเป็นนโยบายให้พนักงานเข้าหรือออก เพื่อร่วมฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ ไปด้วยกัน รวมถึงรักษากำลังใจของคนที่อยู่ เพราะคนคือหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนองค์กรให้เดินต่อไปข้างหน้า  🔸ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำอย่างไร ในปี 2563 นี้มีการปรับขึ้นค่าแรงแตกต่างกันตามแต่ละพื้นที่คือ - ปรับขึ้น 6 บาท จำนวน 9 จังหวัด คือ ชลบุรี ภูเก็ต กรุงเทพฯ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และปราจีนบุรี - ปรับขึ้น 5 บาทให้กับทุกจังหวัดทั่วประเทศนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาด้านบน  ส่งผลให้ลูกจ้างของแต่ละจังหวัดจะได้รับค่าแรงขั้นต่ำไม่เท่ากัน ซึ่งแตกต่างถึง 10 ระดับ โดยค่าแรงขั้นต่ำฐานสูงสุดอยู่ที่วันละ 336 บาท และฐานต่ำสุดอยู่ที่วันละ 313 บาท  🔸ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น จากการปรับค่าแรงขั้นต่ำ นอกจากนายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นแล้ว อย่าลืมว่ายังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับค่าจ้างตามมาอีกคือ  - เงินสมทบกองทุนประกันสังคม  - เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ  - ค่าล่วงเวลา และรายจ่ายอื่นๆ ที่คิดจากเงินเดือนเป็นฐาน เช่น ค่าคอมมิชชั่น และโบนัส เป็นต้น  นอกจากนี้ นายจ้างยังต้องเตรียมพร้อมวางแผนในการจัดการส่วนที่เกี่ยวข้องกับเงินเดือนให้ดี เช่น - วิธีการปรับค่าจ้าง เมื่อมีการปรับค่าจ้างให้กับกลุ่มพนักงานที่ต่ำกว่าค่าแรงขั้นต่ำแล้ว กลุ่มพนักงานที่มีฐานเงินเดือนสูงกว่าจะทำอย่างไร จะปรับขึ้นด้วยหรือไม่ หากไม่มีการปรับเลยก็อาจจะทำให้เกิดการลาออกได้ จึงควรระวังเรื่องความเป็นธรรมประกอบด้วย - อัตราแรกจ้างตามวุฒิการศึกษา บริษัทที่มีการกำหนดอัตราแรกจ้างตามวุฒิการศึกษาสำหรับพนักงานที่เพิ่งจบการศึกษาใหม่นั้น ควรระวังเรื่องของอัตราแรกจ้างในส่วนของวุฒิ ปวช. และ ปวส. และอาจจะต้องตรวจสอบวุฒิปริญญาตรีด้วย  - โครงสร้างเงินเดือน อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเงินเดือนเพราะค่าจ้างมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งธุรกิจที่มีโครงสร้างของพนักงานที่มีอายุงานน้อยในสัดส่วนที่สูงกว่าจะได้รับผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำมากกว่า   ----------------------------------------------------------------------------------- สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด  | รับสร้างแบรนด์  | รับทำการตลาดออนไลน์  | รับทำแผนการตลาดออนไลน์  | รับสร้างแบรนด์  | รับดูแล Facebook แฟนเพจ  | รับดูแล LINE OA    สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง   รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์ >> https://www.chatstickmarket.com/langran  ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้ >>https://www.chatstickmarket.com/portfolio  ------------------------------------------------------------------------------------  💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙 📱Tel : 0840104252 📱0947805680 สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์) 📨 Inbox : http://m.me/ChatStick.TH  ┏━━━━━━━━━┓ 📲 LINE: @chatstick ┗━━━━━━━━━┛ หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM  🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran  🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

ลูกจ้างเตรียมเฮ❗ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่


หลังจากที่ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) กับตัวแทนสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ออกมาเรียกร้องให้มีการปรับค่าจ้างขั้นต่ำปี 2561 ขึ้นจาก 300 บาทไปเป็น 600-700 บาทต่อวันนั้นก็ได้เกิดกระแสตอบโต้มากมายทั้งจากรัฐบาลและจากฝั่งเอกชน


ในวงการเศรษฐศาสตร์เองการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำก็เป็นประเด็นที่ถูกถกเถียงกันอย่างเผ็ดมันมาเป็นเวลานานหลายสิบปีไม่แพ้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่อัตราว่างงานต่ำ ช่วงหาเสียง และช่วงที่สังคมเริ่มไม่ทนกับระดับความเหลื่อมล้ำทางรายได้


บทความนี้จะสรุปประเด็นสำคัญเกี่ยวกับ ผลกระทบที่ “สามารถเกิดขึ้นได้” ผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับผลกระทบมากกว่ากิจการขนาดใหญ่จากค่าใช้จ่ายของธุรกิจที่เพิ่มสูงขึ้น


🔸ค่าจ้างขั้นต่ำคืออะไร?

เป็นค่าตอบแทนต่ำสุดซึ่งนายจ้างจะต้องจ่ายแก่ลูกจ้างเป็นรายชั่วโมง รายวันหรือรายเดือนตามที่กฎหมายกำหนด หรือมีความหมายเหมือนกับค่าแรงต่ำสุดซึ่งลูกจ้างจะขายแรงงานของตน แม้ว่ากฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำจะมีผลใช้บังคับในหลายรัฐ ก็ยังมีความเห็นต่างในผลดีและผลเสียของค่าจ้างขั้นต่ำ ผู้สนับสนุนค่าจ้างขั้นต่ำบอกว่า จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานชีวิตของลูกจ้างและลดความยากจน ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยว่า ถ้าค่าจ้างขั้นต่ำสูงพอจะเห็นผลได้ดังนั้น ก็จะเป็นการเพิ่มอัตราว่างงาน


โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในหมู่ลูกจ้างที่มีผลิตภาพต่ำเพราะขาดประสบการณ์หรือพิการ ดังนั้นจึงเป็นการทำร้ายแรงงานที่มีฝีมือน้อยกว่าและเป็นประโยชน์แก่แรงงานที่มีฝีมือสูงกว่า


🔸วิธีคุมค่าใช้จ่าย ค่าจ้าง และเงินเดือน

เจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก โดยเฉพาะธุรกิจซื้อมาขายไปที่ได้รับผลกระทบจากการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ อย่าเพิ่งรีบแก้ปัญหาด้วยการไปเพิ่มราคาขายสินค้าแต่เพียงอย่างเดียว เพราะหากสินค้าของเรามีราคาสูงกว่าคู่แข่ง ก็ยิ่งทำให้คาดเดายอดขายได้ยากในสภาพเศรษฐกิจชะลอตัว แต่เจ้าของธุรกิจสามารถปรับวิธีการบริหารค่าใช้จ่ายของธุรกิจได้ในเบื้องต้น เพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายไม่ให้สูงเกินจนรับมือไม่อยู่ เช่น

1. ตรวจสอบดูว่ามีพนักงานจำนวนเท่าไรที่ได้รับค่าจ้างต่ำเพราะต้องคำนึงถึงเงินส่วนอื่นๆ นอกจากค่าจ้างด้วยคือ เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่าล่วงเวลาและค่าคอมมิชชั่นอื่นๆ

ดังนั้นหากธุรกิจมีสวัสดิการ หรือค่าคอมมิชชั่นที่ไม่ถือว่าเป็นค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างบางรายอาจยกเลิกสวัสดิการส่วนนี้ แล้วนำไปปรับเป็นฐานเงินเดือนให้ลูกจ้างแทนแล้วปรับเงินเดือนขึ้นตามโครงสร้างเหมือนเดิมก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถทำได้

2. ประเมินค่าใช้จ่ายต่างๆ ของธุรกิจที่สามารถลดได้ อะไรที่ไม่จำเป็นหรือเป็นการจ่ายที่ไม่คุ้มค่าก็ควรจะลดลงก่อน ซึ่งการจะบริหารค่าใช้จ่ายของธุรกิจในส่วนนี้ได้ เจ้าของธุรกิจก็จำเป็นที่ต้องมีข้อมูลธุรกิจเพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและประเมินค่าใช้จ่ายได้ตามจริง

3. สื่อสารกับพนักงานสม่ำเสมอเพื่อทำความเข้าใจให้ตรงกัน ไม่ว่าจะเป็นนโยบายให้พนักงานเข้าหรือออก เพื่อร่วมฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ ไปด้วยกัน รวมถึงรักษากำลังใจของคนที่อยู่ เพราะคนคือหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนองค์กรให้เดินต่อไปข้างหน้า


🔸ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำอย่างไร

ในปี 2563 นี้มีการปรับขึ้นค่าแรงแตกต่างกันตามแต่ละพื้นที่คือ

- ปรับขึ้น 6 บาท จำนวน 9 จังหวัด คือ ชลบุรี ภูเก็ต กรุงเทพฯ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และปราจีนบุรี

- ปรับขึ้น 5 บาทให้กับทุกจังหวัดทั่วประเทศนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาด้านบน


ส่งผลให้ลูกจ้างของแต่ละจังหวัดจะได้รับค่าแรงขั้นต่ำไม่เท่ากัน ซึ่งแตกต่างถึง 10 ระดับ โดยค่าแรงขั้นต่ำฐานสูงสุดอยู่ที่วันละ 336 บาท และฐานต่ำสุดอยู่ที่วันละ 313 บาท


🔸ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น

จากการปรับค่าแรงขั้นต่ำ นอกจากนายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นแล้ว อย่าลืมว่ายังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับค่าจ้างตามมาอีกคือ

- เงินสมทบกองทุนประกันสังคม

- เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

- ค่าล่วงเวลา และรายจ่ายอื่นๆ ที่คิดจากเงินเดือนเป็นฐาน เช่น ค่าคอมมิชชั่น และโบนัส เป็นต้น


นอกจากนี้ นายจ้างยังต้องเตรียมพร้อมวางแผนในการจัดการส่วนที่เกี่ยวข้องกับเงินเดือนให้ดี เช่น

- วิธีการปรับค่าจ้าง เมื่อมีการปรับค่าจ้างให้กับกลุ่มพนักงานที่ต่ำกว่าค่าแรงขั้นต่ำแล้ว กลุ่มพนักงานที่มีฐานเงินเดือนสูงกว่าจะทำอย่างไร จะปรับขึ้นด้วยหรือไม่ หากไม่มีการปรับเลยก็อาจจะทำให้เกิดการลาออกได้ จึงควรระวังเรื่องความเป็นธรรมประกอบด้วย

- อัตราแรกจ้างตามวุฒิการศึกษา บริษัทที่มีการกำหนดอัตราแรกจ้างตามวุฒิการศึกษาสำหรับพนักงานที่เพิ่งจบการศึกษาใหม่นั้น ควรระวังเรื่องของอัตราแรกจ้างในส่วนของวุฒิ ปวช. และ ปวส. และอาจจะต้องตรวจสอบวุฒิปริญญาตรีด้วย

- โครงสร้างเงินเดือน อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเงินเดือนเพราะค่าจ้างมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งธุรกิจที่มีโครงสร้างของพนักงานที่มีอายุงานน้อยในสัดส่วนที่สูงกว่าจะได้รับผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำมากกว่า


-----------------------------------------------------------------------------------

สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด | รับสร้างแบรนด์ | รับทำการตลาดออนไลน์ | รับทำแผนการตลาดออนไลน์ | รับสร้างแบรนด์ | รับดูแล Facebook แฟนเพจ | รับดูแล LINE OA สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง

รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์

ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้

------------------------------------------------------------------------------------


💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙

📱Tel : 0840104252 📱0947805680

สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์)

┏━━━━━━━━━┓

📲 LINE: @chatstick

┗━━━━━━━━━┛

หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM

🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran

🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

แท็ก:

ดู 12 ครั้ง

Comments


CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม2_2.png
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม3.png
Recent Posts
c24f0332fa3b87f8a304140403b893510_64100212_210625.jpg
244712625_300456528129611_2152723951836713111_n.jpg
5.png
4.png
Button Event สติกเกอร์.png
2.png
Button ChatStick Market.png
bottom of page