top of page

เรื่องควรรู้เกี่ยวกับภาษีร้านค้าออนไลน์


  เรื่องควรรู้เกี่ยวกับภาษีร้านค้าออนไลน์  สำหรับใครที่เป็นพ่อค้าและแม่ค้าร้านค้าออนไลน์ทั้งหลาย มีสิ่งที่คุณควรรู้อยู่นั่นก็คือการเสียภาษี ในบทความนี้จึงขอนำเสนอเรื่องที่คุณนั้นควรรู้เกี่ยวกับภาษีของร้านค้าออนไลน์นำมาฝากกันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย  1.เลขประจำตัวของผู้ที่เสียภาษี สำหรับใครที่เป็นผู้มีเงินได้คุณนั้นจะต้องมีเลขประจำตัวในการเสียภาษี เพื่อที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติในหน้าที่ทางภาษี ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ - บุคคลที่เป็นคนไทย (สำหรับบุคคลธรรมดา) โดยให้คุณนั้นใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชนเป็นเลขสำหรับใช้ในการเสียภาษี และคุณนั้นไม่ต้องทำการยื่นเรื่องเพื่อขอเลขประจำตัวของผู้เสียภาษีอย่างใด - ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือ คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล โดยคุณนั้นต้องทำการยื่นคำร้องในแบบ ล.ป.10.2 เพื่อทำการขอมีเลขประจำตัวสำหรับผู้เสียภาษี ได้ที่สรรพากร - สำหรับแรงงานต่างชาติ ต้องมีการทำการยื่นคำร้องในแบบ ล.ป.10.1 เพื่อทำการขอเลขประจำตัวของผู้เสียภาษี  2.การจัดทำบัญชีเงินสดรายรับและรายจ่าย ซึ่งสำหรับใครที่เป็นผู้ประกอบการที่ทำการประกอบกิจการในนามของบุคคลธรรมดานั้น คุณจะต้องมีการจัดการทำรายงานแสดงรายได้และแสดงรายจ่ายประจำวัน โดยจะต้องมีการรายงานอย่างน้อยตามแบบฟอร์มที่ได้มีการกำหนด เพื่อทำการเก็บรายงานพร้อมด้วยเอกสารและหลักฐานได้ และเอกสารรายจ่ายไว้เพื่อประกอบในการยื่นภาษี โดยเอกสารทั้งหมดนั้นจะต้องเป็นรายจ่ายที่มีความเกี่ยวข้องกับกิจการเพียงเท่านั้น  3.การทำเรื่องขอยื่นในรูปแบบของการแสดงรายการของภาษีเงินได้ และทำการคำนวณภาษี ซึ่งรายได้จากการขายสินค้าทางช่องทางออนไลน์นั้นเป็นในรูปแบบของเงินได้ ในประเภทที่ 8 และสำหรับผู้ที่มีเงินได้ โดยมีหน้าที่ในการยื่นภาษีแบบปีละ 2 ครั้ง โดยมีดังนี้ - ภาษีเงินได้สำหรับบุคคลธรรมดาสำหรับครึ่งปี โดยคุณนั้นสามารถทำการยื่นเรื่องผ่านทางอินเทอร์เน็ต ภายในวันที่ 8 เดือนตุลาคม ของปีนั้นๆ - ภาษีเงินได้สำหรับบุคคลธรรมดาสำหรับประจำปี โดยคุณนั้นสามารถทำการยื่นเรื่องผ่านทางอินเทอร์เน็ต ภายในวันที่ 8 เดือนเมษายน ของปีถัดไป และวิธีการในการคำนวณค่าภาษี มีด้วยกัน 2 วิธี ดังนี้ - วิธีที่ 1 คือการคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ โดยให้คุณนั้นทำการนำเอาเงินได้สุทธิ คือ เงินได้นำมาลบกับค่าใช้จ่ายและลบค่าลดหย่อน - คำนวณจากจำนวนภาษี ให้คุณนั้นทำการนำเอาเงินได้สุทธินำมาคูณกับอัตราภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดา - วิธีที่ 2 คือการคำนวณจากภาษีเงินได้ที่พึงประเมิน โดยให้คุณนั้นนำจำนวนของภาษี** จะได้เท่ากับเงินได้พึงประเมิน x 0.5% - และเงินได้ในประเภทที่ 2 ถึงประเภทที่ 8 โดยมีเงินตั้งแต่ 120,000 บาทขึ้นไป  4.ภาษีของมูลค่าเพิ่ม ซึ่งถ้าหากคุณนั้นเป็นผู้ประกอบการที่มีรายได้จากการขายสินค้าหรือการให้บริการที่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปีนั้น คุณจะต้องทำการจดทะเบียนเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม และต้องทำการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ - การจดทะเบียนสำหรับภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งถ้าคุณนั้นเป็นผู้ประกอบการที่มีรายรับมาจากการขายสินค้าหรือการให้บริการที่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ให้คุณนั้นทำการยื่นขอคำขอจดทะเบียนสำหรับภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใน 30 วัน ซึ่งให้ทำการนับตั้งแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ได้ที่สำนักงานสรรพากร หรือทำการยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต - การทำการออกใบกำกับภาษีการขาย ซึ่งผู้ประกอบการที่ทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีหน้าที่ดังนี้ •การจัดทำใบกำกับของภาษีและการทำสำเนาใบกำกับภาษี และสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการของทุกครั้ง •การทำการส่งมอบต้นฉบับของใบกำกับภาษี แก่ผู้ที่ทำการซื้อสินค้าหรือผู้ที่รับบริการ •การทำการเก็บรักษาสำเนาของใบกำกับภาษี ณ สถานประกอบการโดยเป็นเวลาที่ไม่น้อยกว่า 5 ปี ซึ่งถ้าเกิดกรณีในการทำการยกเลิกการประกอบกิจการ ผู้ที่ประกอบกิจการนั้น จะต้องทำการเก็บรักษาเอกสารต่างๆ ไว้ต่อไปอีกเป็นเวลา 2ปี ให้นับจากวันที่ยกเลิกการประกอบกิจการ - การจัดทำการรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งผู้ประกอบการที่ทำการจดทะเบียนสำหรับภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นจะต้องมีหน้าที่ในการทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มในทุกๆ เดือน  - การทำการยื่นแบบของ แบบการแสดงรายการที่เป็นการสรุปภาษีการซื้อและภาษีการขาย เป็นประจำในทุกๆ เดือน  •ซึ่งภายในวันที่ 15 ของในเดือนถัดไปนั้น ให้ทำการยื่นที่สำนักงานสรรพากร •ซึ่งภายในวันที่ 23 ของในเดือนถัดไปนั้น ให้ทำการยื่นโดยยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งถ้าหากในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของรายการที่ได้ทำการจดทะเบียนของภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ ในส่วนที่สำคัญนั้น ยกตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงประเภทของการประกอบกิจการ เป็นต้น ให้ทำการยื่นคำขอเกี่ยวกับการแจ้งการเปลี่ยนแปลง เป็นเวลาภายใน 15 วัน ให้ทำการนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง  เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หวังว่าในบทความนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านทุกท่าน และพบกันได้ใหม่ในบทความต่อไป  ----------------------------------------------------------------------------------- สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด  | รับสร้างแบรนด์  | รับทำการตลาดออนไลน์  | รับทำแผนการตลาดออนไลน์  | รับสร้างแบรนด์  | รับดูแล Facebook แฟนเพจ  | รับดูแล LINE OA    สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง   รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์ >> https://www.chatstickmarket.com/langran  ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้ >> https://www.chatstickmarket.com/portfolio  ------------------------------------------------------------------------------------  💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙 📱Tel : 0840104252 📱0947805680 📨 Inbox : http://m.me/ChatStick.TH  ┏━━━━━━━━━┓ 📲 LINE: @chatstick ┗━━━━━━━━━┛ หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM  🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran  🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

เรื่องควรรู้เกี่ยวกับภาษีร้านค้าออนไลน์


สำหรับใครที่เป็นพ่อค้าและแม่ค้าร้านค้าออนไลน์ทั้งหลาย มีสิ่งที่คุณควรรู้อยู่นั่นก็คือการเสียภาษี ในบทความนี้จึงขอนำเสนอเรื่องที่คุณนั้นควรรู้เกี่ยวกับภาษีของร้านค้าออนไลน์นำมาฝากกันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย


1.เลขประจำตัวของผู้ที่เสียภาษี

สำหรับใครที่เป็นผู้มีเงินได้คุณนั้นจะต้องมีเลขประจำตัวในการเสียภาษี เพื่อที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติในหน้าที่ทางภาษี ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้

- บุคคลที่เป็นคนไทย (สำหรับบุคคลธรรมดา) โดยให้คุณนั้นใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชนเป็นเลขสำหรับใช้ในการเสียภาษี และคุณนั้นไม่ต้องทำการยื่นเรื่องเพื่อขอเลขประจำตัวของผู้เสียภาษีอย่างใด

- ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือ คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล โดยคุณนั้นต้องทำการยื่นคำร้องในแบบ ล.ป.10.2 เพื่อทำการขอมีเลขประจำตัวสำหรับผู้เสียภาษี ได้ที่สรรพากร

- สำหรับแรงงานต่างชาติ ต้องมีการทำการยื่นคำร้องในแบบ ล.ป.10.1 เพื่อทำการขอเลขประจำตัวของผู้เสียภาษี


2.การจัดทำบัญชีเงินสดรายรับและรายจ่าย

ซึ่งสำหรับใครที่เป็นผู้ประกอบการที่ทำการประกอบกิจการในนามของบุคคลธรรมดานั้น คุณจะต้องมีการจัดการทำรายงานแสดงรายได้และแสดงรายจ่ายประจำวัน โดยจะต้องมีการรายงานอย่างน้อยตามแบบฟอร์มที่ได้มีการกำหนด เพื่อทำการเก็บรายงานพร้อมด้วยเอกสารและหลักฐานได้ และเอกสารรายจ่ายไว้เพื่อประกอบในการยื่นภาษี โดยเอกสารทั้งหมดนั้นจะต้องเป็นรายจ่ายที่มีความเกี่ยวข้องกับกิจการเพียงเท่านั้น


3.การทำเรื่องขอยื่นในรูปแบบของการแสดงรายการของภาษีเงินได้ และทำการคำนวณภาษี

ซึ่งรายได้จากการขายสินค้าทางช่องทางออนไลน์นั้นเป็นในรูปแบบของเงินได้ ในประเภทที่ 8 และสำหรับผู้ที่มีเงินได้ โดยมีหน้าที่ในการยื่นภาษีแบบปีละ 2 ครั้ง โดยมีดังนี้

- ภาษีเงินได้สำหรับบุคคลธรรมดาสำหรับครึ่งปี โดยคุณนั้นสามารถทำการยื่นเรื่องผ่านทางอินเทอร์เน็ต ภายในวันที่ 8 เดือนตุลาคม ของปีนั้นๆ

- ภาษีเงินได้สำหรับบุคคลธรรมดาสำหรับประจำปี โดยคุณนั้นสามารถทำการยื่นเรื่องผ่านทางอินเทอร์เน็ต ภายในวันที่ 8 เดือนเมษายน ของปีถัดไป

และวิธีการในการคำนวณค่าภาษี มีด้วยกัน 2 วิธี ดังนี้

- วิธีที่ 1 คือการคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ โดยให้คุณนั้นทำการนำเอาเงินได้สุทธิ คือ เงินได้นำมาลบกับค่าใช้จ่ายและลบค่าลดหย่อน

- คำนวณจากจำนวนภาษี ให้คุณนั้นทำการนำเอาเงินได้สุทธินำมาคูณกับอัตราภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดา

- วิธีที่ 2 คือการคำนวณจากภาษีเงินได้ที่พึงประเมิน โดยให้คุณนั้นนำจำนวนของภาษี** จะได้เท่ากับเงินได้พึงประเมิน x 0.5%

- และเงินได้ในประเภทที่ 2 ถึงประเภทที่ 8 โดยมีเงินตั้งแต่ 120,000 บาทขึ้นไป


4.ภาษีของมูลค่าเพิ่ม

ซึ่งถ้าหากคุณนั้นเป็นผู้ประกอบการที่มีรายได้จากการขายสินค้าหรือการให้บริการที่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปีนั้น คุณจะต้องทำการจดทะเบียนเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม และต้องทำการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

- การจดทะเบียนสำหรับภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งถ้าคุณนั้นเป็นผู้ประกอบการที่มีรายรับมาจากการขายสินค้าหรือการให้บริการที่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ให้คุณนั้นทำการยื่นขอคำขอจดทะเบียนสำหรับภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใน 30 วัน ซึ่งให้ทำการนับตั้งแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ได้ที่สำนักงานสรรพากร หรือทำการยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต

- การทำการออกใบกำกับภาษีการขาย ซึ่งผู้ประกอบการที่ทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีหน้าที่ดังนี้ •การจัดทำใบกำกับของภาษีและการทำสำเนาใบกำกับภาษี และสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการของทุกครั้ง •การทำการส่งมอบต้นฉบับของใบกำกับภาษี แก่ผู้ที่ทำการซื้อสินค้าหรือผู้ที่รับบริการ •การทำการเก็บรักษาสำเนาของใบกำกับภาษี ณ สถานประกอบการโดยเป็นเวลาที่ไม่น้อยกว่า 5 ปี ซึ่งถ้าเกิดกรณีในการทำการยกเลิกการประกอบกิจการ ผู้ที่ประกอบกิจการนั้น จะต้องทำการเก็บรักษาเอกสารต่างๆ ไว้ต่อไปอีกเป็นเวลา 2ปี ให้นับจากวันที่ยกเลิกการประกอบกิจการ

- การจัดทำการรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งผู้ประกอบการที่ทำการจดทะเบียนสำหรับภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นจะต้องมีหน้าที่ในการทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มในทุกๆ เดือน

- การทำการยื่นแบบของ แบบการแสดงรายการที่เป็นการสรุปภาษีการซื้อและภาษีการขาย เป็นประจำในทุกๆ เดือน •ซึ่งภายในวันที่ 15 ของในเดือนถัดไปนั้น ให้ทำการยื่นที่สำนักงานสรรพากร •ซึ่งภายในวันที่ 23 ของในเดือนถัดไปนั้น ให้ทำการยื่นโดยยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต

ซึ่งถ้าหากในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของรายการที่ได้ทำการจดทะเบียนของภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ ในส่วนที่สำคัญนั้น ยกตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงประเภทของการประกอบกิจการ เป็นต้น ให้ทำการยื่นคำขอเกี่ยวกับการแจ้งการเปลี่ยนแปลง เป็นเวลาภายใน 15 วัน ให้ทำการนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง


เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หวังว่าในบทความนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านทุกท่าน และพบกันได้ใหม่ในบทความต่อไป


-----------------------------------------------------------------------------------

สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด | รับสร้างแบรนด์ | รับทำการตลาดออนไลน์ | รับทำแผนการตลาดออนไลน์ | รับสร้างแบรนด์ | รับดูแล Facebook แฟนเพจ | รับดูแล LINE OA สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง

รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์

ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้

------------------------------------------------------------------------------------


💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙

📱Tel : 0840104252 📱0947805680

┏━━━━━━━━━┓

📲 LINE: @chatstick

┗━━━━━━━━━┛

หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM

🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran

🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

แท็ก:

ดู 8 ครั้ง
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม2_2.png
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม3.png
Recent Posts
c24f0332fa3b87f8a304140403b893510_64100212_210625.jpg
244712625_300456528129611_2152723951836713111_n.jpg
5.png
4.png
Button Event สติกเกอร์.png
2.png
Button ChatStick Market.png
bottom of page